วันเสาร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

การบ้านระบบเนวิเกชั่น

ตอบคำถามต่อไปนี้
ความสำคัญของระบบเนวิเกชั่น?

ตอบ การเข้าถึงข้อมูลอย่างสะดวกเป็นหัวใจสำคัญของระบบเนวิเกชั่น การมีเนื้อหาในเว็บไซท์ที่ดีจะเป็นสิ่งดึงดูดให้ผู้ใช้เข้ามาใช้บริการอย่างสม่ำเสมอแต่เนื้อหานั้นจะไม่มีประโยชน์เลยถ้าผู้ใช้ค้นหาสิ่งที่ต้องการไม่พบ ความสำเร็จของเว็บไซท์ส่วนหนึ่งมาจากการที่ผู้ใช้สามารถพึ่งพาระบบเนวิเกชั่นในการนำทางไปถึงที่หมายได้
 ระบบเนวิเกชั่นแบบลำดับชั้น ?
ตอบ เป็นระบบเนวิเกชั้นพื้นฐาน
l มีการเชื่อมโยงตามลำดับชั้นของข้อมูล
 หัวข้อหลัก
à หัวข้อย่อย à รายละเอียด
l มีข้อจำกัดในการเคลื่อนที่เฉเพาะแนวตั้ง
 ระบบเนวิเกชั่นแบบโกลบอล ?
ตอบ เป็นระบบเนวิเกชั้นที่ใช้ลิงค์ไปยังส่วนหลักๆ ของเว็บไซท์ ซึ่งจะมาช่วยเสริมข้อจำกัดของแบบลำดับชั้นทำให้สามารถ เคลื่อนที่ได้ทั้งแนวตั้งและแนวนอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 ระบบเนวิเกชั่นแบบโลคอล?
ตอบ เป็นระบบเนวิเกชั้นที่ใช้ลิงค์ไปยังรายละเอียดย่อยๆ ภายในหัวข้อหลักนั้นๆ  โดยจะเหมาะสำหรับเว็บไซท์ที่มีรายละเอียดและมีรายการหัวข้อที่ซับซ้อน
 
ระบบเนวิเกชั่นเฉพาะที่ ?

ตอบ  เป็นระบบเนวิเกชั่นเฉพาะที่ตามความจำเป็นของเนื้อหา ซึ่งก็คือลิงค์ของคำหรือข้อความที่น่าสนใจซึ่งประกอบอยู่ในประโยค
 Navigation Bar?
ตอบ เป็นระบบเนวิเกชั่นพื้นฐานที่ใช้ได้หลายรูปแบบ ทั้งแบบลำดับชั้น, แบบโกลบอล และแบบโลคอล โดย Navigation Bar จะประกอบด้วยกลุ่มของลิงค์ต่างๆ ที่อยู่รวมกันในบริเวณหนึ่งของหน้าเว็บไซท์
 Frame Based?

ตอบ  เป็นระบบเนวิเกชั่นที่อาศัยระบบเฟรมมาช่วยแบ่งพื้นที่ในหารแสดงข้อมูล และข้อมูลในแต่ละเฟรมเป็นอิสระจากกัน  โดยจะมีเฟรมที่มีระบบ Navigation ที่สามารถควบคุมการแสดงผลข้อมูลในอีกเฟรมหนึ่งได้ ปัญหาที่เกิดขึ้นกับ Frame-Based การครอบครองพื้นที่หน้าจอตลอดเวลา
 Pull-Down Menu? 
ตอบ  มีรายการให้เลือกมากแต่ใช้พื้นที่น้อยช่วยให้ผู้ใช้เลือกรายการย่อยเข่าสู่เป้าหมายได้สะดวก เหมาะสำหรับข้อมูลประเภทเดียวกันที่มีจำนวนมากๆ 
 Pop-Up Menu? 
ตอบ  หน้าเว็บเพจไม่รกจนเกินไปด้วยลิงค์จำนวนมากประหยัดพื้นที่ในการแสดงรายการย่อยของเมนู
 Image Map ?
ตอบ ใช้ภาพกราฟิกในการลิงค์ โดยกำหนดขอบเขตของพื้นที่ต่างๆ ที่สามารถลิงค์ได้บนภาพกราฟิกนั้นควรมีคำอธิบายในส่วนของ ALT (Alternate Text)ไม่ควรใช้ระบบเนวิเกชั่นแบบ Image Map ทั้งเว็บไซท์
 Search Box ?
ตอบ มีประโยน์สำหรับเว็บไซท์ที่มีข้อมูลปริมาณมาก ซึ่งผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยการระบุคีย์เวิร์ดที่ต้องการค้นหา ผ่านระบบ Search Engine ของเว็บไซท์ เพื่อให้แสดงรายการต่างๆ ที่ค้นพบ

วันเสาร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2560

(Value Chain) บริษัท ไทย เบฟเวอเรจ

การวิเคราะห์ปัจจัยภายในห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) บริษัท ไทย เบฟเวอเรจ

 


การวิเคราะห์ปัจจัยภายในห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) สินค้าพรีเมี่ยม
สำหรับการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าเพื่อแสดงให้เห็นว่า บริษัท  จากัด มีกิจกรรมหลักและกิจกรรมสนับสนุน อย่างไรบ้าง และความสามารถในการแข่งขันของกิจการเกิดขึ้นจากกิจกรรมหลัก และกิจกรรมสนับสนุน ในส่วนนี้จะนำเสนอถึงห่วงโซ่คุณค่าของกระบวนการรับรู้ความต้องการของลูกค้าออกแบบสินค้าพรีเมี่ยม
กิจกรรมหลัก (Primary Activities) คือ กิจกรรมพื้นฐานในการผลิตสินค้าหรือบริการ ประกอบไปด้วย
- ลอจิสติกส์ขาเข้า (Inbound Logistics)
ฝ่ายขายจะเข้าไปรับทราบข้อมูลความต้องการของทางลูกค้าว่ามีความต้องการใช้ของ
พรีเมี่ยมในโอกาสใด งบประมาณเท่าไหร่ และโจทย์ของลูกค้าเป็นอย่างไรซึ่งลูกค้าจะมีการ brief
ข้อมูลสิ่งที่ต้องการมาทางฝ่ายขาย แต่ในบางโอกาสฝ่ายออกแบบก็จะออกไปรับ brief ด้วย
ส่วนของการผลิตจะสั่งในส่วนของวัตถุดิบ ของพรีเมี่ยมปีใหม่ ที่มีคุณภาพ เป็นเม็ดพลาสติกตามชนิดของ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้ออกแบบไป ทั้ง PP ( Polypopylene) TPE (Termoplastic Elastomer) ฯลฯ
รวมทั้งสินค้าสำเร็จรูปที่ทาการสั่งจาก Suppliers ข้างนอก
- การผลิตหรือการปฏิบัติการ (Operation)
ในส่วนของการดาเนินงาน เมื่อไปรับข้อมูลของลูกค้ามาแล้วทางฝ่ายออกแบ บจะทาการ
ระดมความคิดเกี่ยวกับสินค้าที่จะทาการออกแบบให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า โดย
คำนึงถึงปัจจัยด้านต่างๆ เช่น concept ของสินค้า เทรน งบประมาณ และกรรมวิธีการผลิต
โดยใช้การสร้างภาพสามมิติขึ้นมาในคอมพิวเตอร์ และทำพรีเซนเตชั่นนำเสนอลูกค้า
ส่วนของการผลิตหลังจากฝ่ายออกแบบได้ทาการออกแบบเป็นที่ตกลงใจจากลูกค้าแล้ว
จะนามาทาการผลิต โดยถ้าเป็นสิ่งที่ไม่สามารถทาเองได้ เช่น งานผ้า หรือยางหยอด (soft PVC)
ก็จะทาการสั่งผลิตจากภายนอก ส่วนถ้าเป็นงานที่สามารถผลิตเองได้ก็จะข้าสู่กระบวนการตั้งแต่
เขียนแบบการผลิต ออกแบบแม่พิมพ์ฉีด และนามาเข้าสู่กระบวนการการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์
และนามาบรรจุในบรรจุภัณฑ์ทั้งที่เป็นถุงพลาสติกสาหรับลูกค้าที่ไม่ต้องการบรรจุภัณฑ์ และ
ออกแบบกราฟฟิคในบรรจุภัณฑ์สั่งจากโรงพิมพ์ข้างนอกสาหรับลูกค้าที่ต้องการให้ออกแบบ
บรรจุภัณฑ์ ของพรีเมี่ยมแก้ว ด้วย
การขนส่งสินค้า (Outbound Logistics)
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรวบรวม จัดเก็บ และส่งมอบสินค้าแก่ลูกค้า เมื่อฝ่ายออกแบบทา
การออกแบบสินค้าเสร็จ ฝ่ายขายจะนาสิ่งที่ออกแบบไปนาเสนอให้ทางลูกค้า ตามไฟล์งานที่ฝ่าย
ออกแบบทาไปให้ โดยนาเสนอถึงแนวความคิด แรงบันดาลใจ และการออกแบบตาม Identity
ของทางลูกค้า
ส่วนฝ่ายผลิตเมื่อผลิตออกมาสมบูรณ์แล้วก็จะมีฝ่ายจัดส่งนำส่งให้ถึงลูกค้า ส่วนที่เป็น
สินค้าของบริษัทที่จะเข้าไปนาจาหน่ายตามห้างสรรพสินค้าชั้นนาโดยมีฝ่ายจัดส่ง และพนักงาน
PC คอยจัดเรียงสินค้าเข้าจุดขายในห้างสรรพสินค้าของพรีเมี่ยม













Peat  บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด 

วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายใน
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาส
-ในด้านโอกาสนั้นการที่ บริษัทไทยเบฟเวอเรจ นั้นจะมีโอกาสจากนโยบายของรัฐบาลค่อนข้างยากเนื่องจากนโยบายส่วนใหญ่จะรณรงค์ ให้ลดการดื่มเครื่องดื่มมึนเมาซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์หลักของทางบริษัทดังนั้นนโยบายของรัฐบาลจึงไม่ค่อยมีผลต่อโอกาสการดำเนินธุรกิจจะมีผลก็แค่ส่วนของผลิตภัณฑ์ที่ไม่
เกี่ยวข้องกับสิ่งมึนเมาซึ้งเป็นส่วนน้อยของบริษัท

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร “STEP Analysis”
กลยุทธ์ระดับองค์กร
ไทยเบฟส่ง '100 พลัส' รุกชิงตลาดน้ำอัดลม
ปี 2556 นับเป็นปีที่บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ("ไทยเบฟ") ขยายตัวจากธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศไปสู่ระดับภูมิภาคจากการลงทุนในหุ้นเฟรเซอร์ แอนด์ นีฟ, ลิมิเต็ด ("F&N") ซึ่งถือเป็นการซื้อกิจการที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของธุรกิจสิงคโปร์การลงทุนดังกล่าวนี้นับเป็นก้าวสำคัญของบริษัทเพื่อมุ่งสู่การเป็นผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเครื่องดื่มครบวงจรระดับโลก เบียร์,สุรา,อาหาร
แบ่งธุรกิจออกเป็น 4 ประเภท
เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์
เบียร์ช้าง คลาสิค
เบียร์ช้างเอ็กซ์พอร์ต
เบียร์ช้าง ดราฟต์
เบียร์ช้าง ไลท์
เบียร์อาชา
เฟดเดอร์บรอย
สายผลิตภัณฑ์
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด
ก่อตั้งขึ้นในประเทศไทยเมื่อปีพุทธศักราช 2546
โดยมีจุดประสงค์เพื่อรวมกิจการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเบียร์และ
สุราชั้นนำของไทย 

ต่อมาในปี 2549
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด ได้จดทะเบียนในตลาด
หลักทรัพย์สิงคโปร์

จากนั้นขยายขอบเขตธุรกิจ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไปสู่ธุรกิจเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์และอาหาร
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านอุปสรรคในด้านอุปสรรคเห็นได้ชัดเรื่องนโยบายที่รณรงค์ไม่ให้ดื่มเครื่องดื่มมึนเมานั้นจะมีผลโดยตรงและผลกระทบอย่างแน่นอน
เทคโนโลยี (Technological Component = T
เป็นการวิเคราะห์สภาพการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีที่จะมีผลต่อการดำเนินงาน เช่น การผลิตคิดค้นเทคโนโลยีต่างๆ ความรู้และวิทยาการแขนงต่างๆ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร การแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างองค์กร ความก้าวหน้าในการวิจัยและพัฒนาในสาขาที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตและการให้บริการโดยใช้อุปกรณ์ อัตโนมัติต่าง ๆ


วิสัยทัศน์องค์กร คือ การเป็นกลุ่มบริษัทไทยผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเครื่องดื่มครบวงจร
ในระดับโลก โดยมุ่งเน้นที่ความเป็นเลิศเชิงพาณิชย์ ความต่อเนื่องในการพัฒนาคุณภาพสินค้าให้อยู่ในระดับพรีเมี่ยม และความเป็นมืออาชีพ
 
วิสัยทัศน์
กลุ่มธุรกิจ
มอบผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงสุดให้ลูกค้าทุกกลุ่ม (ลูกค้า)
ตอบสนองความต้องการของผู้แทนจำหน่ายโดยให้บริการอย่างมืออาชีพ (ผลิตภัณฑ์)
ให้ความสำคัญเรื่องผลตอบแทนจากการลงทุนให้แก่ผู้ถือหุ้น ด้วยการเติบโตของรายได้และผลกำไรที่มั่นคงและต่อเนื่อง (ตลาด)
เป็นแบบอย่างในด้านความเป็นมืออาชีพ ความโปร่งใส และการดำเนินธุรกิจด้วยหลักธรรมาภิบาล (แนวคิดต่อตนเอง)
มอบความไว้วางใจ อำนาจ และรางวัลแก่พนักงาน เพื่อสร้างความร่วมรับผิดชอบ (บุคลากร)
สร้างประโยชน์ให้แก่สังคม (ปรัชญา และ ภาพลักษณ์)
พันธกิจ
สิ่งที่ขาด
การอยู่รอด การเจริญเติบโต และการทำกำไร
เทคโนโลยี
ข้อเสนอแนะ
กำหนดนโยบายพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์ และตอบสนองความต้องการของตลาด เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
ด้านเทคโนโลยี เพิ่มการลงทุนด้านการผลิตสินค้า โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในอุตสาหกรรม
ด้านการร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม

โครงการ "ช้างช่วยช้าง"
"ปลูกจิตสำนึกอนุรักษ์ช้าง" 

ด้านสาธารณสุข

ร่วมสมทบทุน "มูลนิธิโรงพยาบาลศิริราช"

ด้านกีฬา

ไทยเบฟ ไทยทาเล้นท์ ด้าน "กีฬาฟุตบอล"
วัตนธรรมองค์การ
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ
ไทยเบฟ ไม่ได้มุ่งเน้นเพียงการพัฒนาองค์ความรู้ให้แก่
พนักงานเท่านั้น ยังส่งเสริมให้พนักงานมีจริยธรรม
ยึดมั่นในค่านิยม ที่เหมาะสม ด้วยคุณค่าองค์กร 
ThaiBev Core Values ทั้ง 7 ตัวอักษร 9 คำ 9 
ความหมาย ได้แก่

T Team Spirit 
H Heart
A Accountability 
I Initiative 
B be Best - be Bold - be Bright
E Efficient 
V Virtue
ข่าวหนังสือพิมพ์ ไทยโพสต์ วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558
อ้างอิง http://www.ryt9.com/s/tpd/2089552
พันธกิจของเราคือ การประสาน "สัมพันธภาพ" กับผู้มีส่วนได้เสียที่มีความสำคัญกับบริษัทในทุกๆ ด้าน โดยมอบคุณค่าที่สำคัญ 6 ประการ
RBV
1. ทรัพยากรทางกายภาพ: มุ่งเน้นที่ความเป็นเลิศเชิงพาณิชย์ ความต่อเนื่องในการพัฒนาคุณภาพสินค้า ให้อยู่ในระดับพรีเมี่ยม และความเป็นมืออาชีพ พันธกิจของเราคือ การประสาน "สัมพันธภาพ" กับผู้มีส่วนได้เสียที่มีความสำคัญกับบริษัทในทุกๆ ด้าน
2. ทรัพยากรมนุษย์: มอบความไว้วางใจ อำนาจ และรางวัลแก่พนักงาน เพื่อสร้างความร่วมรับผิดชอบ
3. ทรัพยากรขององค์กร: โครงสร้างองค์กร

Functional Analysis
การวิเคราะห์ตามหน้าที่
- การบริหารจัดการ : ผู้บริหารมีความเชี่ยวชาญและชำนาญสูง พัฒนาจนมั่นคงจึงไม่ค่อยประสบปัญหา 
- ระบบการผลิต : ค่อนข้างวางสายการผลิตไว้อย่างชัดเจน แบ่งเป็นกลุ่มของลูกค้าในระดับผลิตภัณฑ์ในการเลือกดื่ม เพื่อให้ได้เป็นแบรนระดับโลกที่ลูกค้านิยม
- การจัดการทรัพยากรมนุษย์ : มีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพื่อการทำงานที่มีคุณภาพ และมีการปรับวิธีตามยุคสมัยที่เปลี่ยนไป 
- การวิจัยและพัฒนา : พัฒนาและวิจัยผลิตภัณฑ์ใหม่ๆเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า
- ความสามารถทางการตลาด : มีการจัดทำสื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย เป็นผู้สนับสนุนในกีฬาต่างๆและยังสังเสริมการช่วยเหลือสังคม

Value Chain Analysis
- อุตสาหกรรมเบียร์เป็นธุรกิจหลักที่เสริมให้อาณาจักรของ บริษัท 
ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) แผ่ขยายกว้างไกลและเป็นปึกแผ่นมั่นคง ด้วยผลิตภัณฑ์สำคัญที่มียอดจำหน่ายสูงสุดอย่างต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน 
เบียร์ช้าง เบียร์เหรียญทองระดับโลก เบียร์ที่กำเนิดจากหัวใจ และความภาคภูมิในความเป็นไทย เผื่อนำเบียร์ไทยสู่เบียร์ระดับโลก
การเมือง (Political Component = P)
เป็นการวิเคราะห์นโยบายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ของภาครัฐ ที่น่าจะมีผลทั้งในเชิงบวกและเชิงลบต่อการดำเนินงานขององค์กร เช่น
- นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี และกฎระเบียบต่างๆ
- ความมั่นคงของรัฐบาล
- บทบาทของกลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มพลังทางการเมือง
- วามขัดแย้งและความรุนแรงทางการเมือง
- พฤติกรรมทางการเมือง

เศรษฐกิจ (Economic Component = E)
การวิเคราะห์เศรษฐกิจระดับมหภาค / ระดับจุลภาค 
ซึ่งหมายถึงระบบเศรษฐกิจทั้งในและระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับการดำเนินงานของ องค์กร อาทิ
- อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
- ผลผลิตมวลรวมในประเทศ
- การค้าระหว่างประเทศและดุลการชำระเงิน
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาส
- ในด้านโอกาสนั้นในด้านเศรษฐกิจไม่ว่าจะจุลภาคหรือมหาภาคนั้นในปัจจุบันมีการใช้
จ่ายค่อนข้างสูงรายได้มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจึงทำให้มีการใช้จ่ายเพิ่มเป็นโอกาสที่ทำให้
สามารถเพิ่มยอดขายได้
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านอุปสรรค
-ในด้านอุปสรรคนั้นยังมีปัจจัยที่ราคาของปัจจัยต่างๆที่ยังส่งผลให้คนเลือกซื้อของมาก
ขึ้นแม้ว่าจะมีปัจจัยการใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นแต่เนื่องด้วยราคาที่เพิ่มขึ้นตามจึงทำให้คนเลือกมา
ขึ้นจึงเป็นอุปสรรคในการเพิ่มยอดขาย
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาส
-ในด้านโอกาสนั้นเทคโนโลยีส่วนใหญ่จะมีผลดีต่อยอดขายต่อบริษัทในแง่ของการใช้
โฆษณาเป็นส่วนใหญ่
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านอุปสรรค
-ในด้านอุปสรรคนั้นในด้านเทคโนโลยีมีผลน้อยมาต่อบริษัท

สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural Component = S)
เป็นการวิเคราะห์สภาวะทางสังคมและวัฒนธรรม
ซึ่งหมายถึงโครงสร้างทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานขององค์กร อาทิ
- ระดับการศึกษาและอัตราการรู้หนังสือของประชากร
- จำนวนประชากร โครงสร้างของประชากร
- ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ค่านิยมและวัฒนธรรม
- แบบแผนการดำเนินชีวิตและพฤติกรรม การประกอบอาชีพ
- คุณภาพชีวิต
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาส
- ในด้านโอกาสนั้นในด้านนี้โอกาสที่เกิดขึ้นจะเกิดจากคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นก็วจะมีการ
บริโภคการใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจึงทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นของยอดขายต่างๆอีกทั้งการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบันซึ้งจะมีการฉลองสังสรรค์ที่มากขึ้นอีกด้วย
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านอุปสรรค
- ในด้านอุปสรรคนั้นเนื่องจากขนบธรรมเนียมประเพณีไทยเป็นเมืองพุทธจึงทำให้
สินค้าที่เป็นสินค้าหลักของเราเป็นสินค้าที่ต้องห้ามจึงทำให้เป็นอุปสรรคในการเพิ่ม
ยอดขาย
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร 5 forces model
1. อำนาจการสต่อรองของผู้บริโภค
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาส
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านอุปสรรค
2. อำนาจการต่อรองของซัพพลายเออร์
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาสและอุปสรรค
3. การคุกคามของผู้ประกอบรายใหม่
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาสและอุปสรรค
4. การคุกคามของสินค้าทดแทน
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาสและอุปสรรค
5. การแข่งขันภายในสายผลิตภัณฑ์
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาส
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านอุปสรรค
S 
มีเงินลงทุนสูง
ทีมบริหารมีความชำนาญ
แบรนด์ติดตลาด
ราคาผลิตภัณฑ์เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้า
มีเทคโนโลยีในการผลิตที่ทันสมัย

W 
ภาพลักษณ์ไม่ดี เพราะเป็นเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์ จึงมีการส่งเสริมโครงการช่วย
เหลือสังคมต่างๆเผื่อสร้างภาพลักษณ์ และซื่อโฆษณาเกี่ยวกับมิตรภาพในเพื่อน มีการลงทุนในการโฆษณาและกิจกรรมต่างๆสูง

O 
ตลาดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เติบโตเร็ว
ฐานลูกค้ากว้าง
การเปิดเสรีอาเซียน AEC
การเข้าสู่ตลาดจากผู้แข่งขันรายใหม่ยาก

T
นโยบายจากภาครัฐ มีการรณรงค์งดดื่ม
มีการแข่งขันที่รุนแรง
มีข้อจำกัดเรื่องของกฎหมาย
ผลกระทบจากเศรษฐกิจ

วันจันทร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2560

นวัตกรรมใหม่ที่5


Ear Cell Phone Conceptแนวคิดโทรศัพท์มือ ถือหูฟังล่องหน


แนวคิดโทรศัพท์มือถือหูฟังล่องหนหรือที่เรียก ว่า "Ilshat Garipov" ออกแบบให้มีขนาดบาง เฉียบ มีลักษณะคล้ายคลิปหนีบ ดึงส่วนยื่นออกมาเกี่ยวกับช่องหู คล้ายหูฟังวัสดุประกอบตัวเครื่องแต่ละชั้นใช้โพลิเมอร์สอดแทรกด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์และเซ็นเซอร์จำนวนมากสามารถตรวจจับผิวหน้าสัมผัสกับตัวเครื่องเปลี่ยนสีพื้นผิวโทรศัพท์ให้เหมือนกับบริเวณที่ส่วมใสอยู่ ดูผ่านๆ แล้วเหมือนกับโทรศัพท์ล่องหนได้
ผลงานการอกแบบของ Kambala

นวัตกรรมใหม่อันที่4


 Flexible Cell Phone Concept: แนวคิดโทรศัพท์มือ ถือกำไลข้อมือ


แนวคิดโทรศัพท์มือถือกำไลข้อมือ หรือนาฬิกา โดยตัวเครื่องทำมาจากวัสดุที่มีความยืดหยุ่นสูง สามารถโค้งงอ ยึดปลายทั้งสองเข้าหากัน ใช้เป็นกำไลข้อมือ พกพาไปไหนได้สะดวกมากขึ้น
ผลงานการอกแบบของ Shirley A. Roberts


วันอาทิตย์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2560

แนวคิดทฤษฏีการจัดการ

แนวคิด ทฤษฏี การจัดการ
         บทที่ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากเอกสาร ให้นักศึกษา ศึกษาข้อมูลตั้งแต่หน้า 17-28 แล้วดำเนินการดังนี้1. สรุปความ

 การบริหาร หมายถึง กิจกรรมที่บุคคลตั้งแต่ 2คนขึ้นไป ร่วมมือกันใช้ศาสตร์ และศิลปะในการดำเนินการ โดยนำเอาทรัพยากรทางการบริหารมาประกอบตามกระบวนการ บริหาร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ 

 การวางแผน หมายถึง กระบวนการพิจารณาตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะทำอะไร อย่างไร มีการกำหนดเลือกวัตถุประสงค์ และวิธีปฏิบัติเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์นั้น โดยอาศัยการวิเคราะห์ ข้อมูลจากอดีต การตัดสินใจในปัจจุบัน และทำการประเมินผลในอนาคต ทั้งนี้ต้องมีการทำอย่าง ต่อเนื่อง มีความยืดหยุ่นรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ 

 การจัดองค์การ หมายถึง การกำหนดโครงสร้างองค์การ เพื่อให้สิ่งของและบุคคลผู้ เข้ามาอยู่ในองค์การสามารถทำงานเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้กระบวนการ ต่าง ๆ ในการสนับสนุนให้การดำเนินงานสามารถประสบความสำเร็จได้ตามที่วางแผนงานไว้

การนำ หมายถึง การที่ผู้บริหารหรือผู้นำองค์การใช้ภาวะผู้นำร่วมกับการจูงใจใน การทำให้สมาชิกขององค์การทำงานของตนเองอย่างเต็มที่ เพื่อให้องค์การได้รับความสำเร็จตามที่ ได้กำหนดไว้ 

 การควบคุม หมายถึง กระบวนการปรับปรุงทบทวนแผนงานและกิจกรรมที่ได้ กำหนดไว้เพื่อปรับเปลี่ยนแก้ไขให้เป็นไปในทิศทางที่มุ่งสู่ภารกิจหลักขององค์การที่ตั้งไว้ 

สรุป การบริหารจัดการ มี4 องค์ประกอบ คือ การวางแผน เป็นกระบวนการพิจารณา ตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะทำอะไร อย่างไร มีการกำหนดเลือกวัตถุประสงค์ และวิธีปฏิบัติเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์นั้น โดยอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลจากอดีต การตัดสินใจในปัจจุบัน และท าการ ประเมินผลในอนาคต ทั้งนี้ต้องมีการทำอย่างต่อเนื่อง มีความยืดหยุ่นรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ การจัดองค์การ เป็นการกำหนดโครงสร้างองค์การ เพื่อให้สิ่งของและบุคคลผู้เข้ามาอยู่ใน องค์การสามารถท างานเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้กระบวนการต่าง ๆ ใน การสนับสนุนให้การด าเนินงานสามารถประสบความส าเร็จได้ตามที่วางแผนงานไว้การน าคือ การที่ผู้บริหารหรือผู้น าองค์การใช้ภาวะผู้น าร่วมกับการจูงใจในการท าให้สมาชิกขององค์การ ท างานของตนเองอย่างเต็มที่ เพื่อให้องค์การได้รับความส าเร็จตามที่ได้ก าหนดไว้ การควบคุม เป็นกระบวนการปรับปรุงทบทวนแผนงานและกิจกรรมที่ได้ก าหนดไว้เพื่อปรับเปลี่ยนแก้ไขให้ เป็นไปในทิศทางที่มุ่งสู่ภารกิจหลักขององค์การที่ตั้งไว้


2. วิเคราะห์ข้อดีข้อเสียของแต่ละรูปแบบการบริหารจัดการ


กิจการเจ้าของคนเดียว
 ข้อดี
  1. เจ้าของมีอำนาจในการตัดสินใจเต็มที่
  2. ผลกำไรจากการทำธุรกิจ เจ้าของได้รับโดยตรงซึ่งอาจจะนำไปลงทุนเพิ่มได้เองตามความต้องการ
  3. ตัดสินใจเลิกกิจการได้ง่าย หากเห็นว่ากิจการมีแนวโน้มที่จะขาดทุน
  4. ค่าใช้จ่ายด้านการบริหารต่ำ
  5. ข้อบังคับทางกฎหมายน้อย
ข้อเสีย
  1. ปริมาณเงินลงทุนมีจำกัดจากเงินลงทุนส่วนตัวของเจ้าของหรือการหยิบยืมจากคนรู้จัก
  2. ความรับผิดชอบต่อหนี้สินของกิจการ เจ้าหนี้สามารถตามยึดทรัพย์สินส่วนตัวของเจ้าของกิจการได้ แม้มิใช่ทรัพย์สินที่ลงทุนในกิจการ
  3. กิจการมีอายุจำกัด โดยจะคงอยู่เมื่อเจ้าของยังมีชีวิตอยู่ เมื่อเจ้าของเสียชีวิต ทรัพย์สินของกิจการก็จะถูกรวมเป็นทรัพย์สินของเจ้าของกิจการและส่งมอบให้แก่ทายาทผู้สืบทอดมรดก ซึ่งทายาทอาจไม่ดำเนินกิจการต่อ
  4. ไม่สามารถระดมทุนจากภายนอกได้เต็มที่ นอกจากการใช้เครดิตส่วนตัวของเจ้าของเท่านั้น
  5. ขาดความน่าเชื่อถือของกิจการ

ห้างหุ้นส่วน
 ข้อดี
  1. มีแหล่งเงินทุนมากกว่ากิจการเจ้าของคนเดียว
  2. สามารถใช้ความสามารถในการบริหารโดยระดมสมองร่วมกันตัดสินใจบริหารงาน
  3. การเสี่ยงน้อยลง เพราะมีผู้ร่วมเฉลี่ยภาระการเสี่ยง
  4. การจัดตั้งไม่ยุ่งยากและมีค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งกิจการต่ำ
  5. เลิกกิจการได้ง่าย
 ข้อเสีย
  1. มีการระดมทุนในวงจำกัดเฉพาะจากผู้เป็นหุ้นส่วนเท่านั้น
  2. กำไรถูกแบ่งเฉพาะหุ้นส่วน
  3. การตัดสินใจอาจล่าช้า เพราะความคิดเห็นขัดแย้งกันในบางกรณี
  4. มีอายุจำกัด ขึ้นอยู่กับข้อตกลงของห้างหุ้นส่วนแต่ละแห่ง ถ้ามิได้ระบุเป็นอย่างอื่น ความเป็นห้างจะสิ้นสุดลงเมื่อหุ้นส่วนถอนตัว หรือมีหุ้นส่วนคนใดเสียชีวิตลง
  5. การไม่จำกัดความรับผิดชอบของหุ้นส่วน ทำให้อาจไม่กล้าเสี่ยงขยายกิจการ
บริษัทจำกัด
ข้อดี
  1. ผู้ถือหุ้นรับผิดชอบในหนี้สินของบริษัทเพียงเท่ากับเงินลงทุนที่สัญญาจะลงทุนตามมูลค่าหุ้นที่ยังชำระไม่ครบ (ผู้ถือหุ้นมีความรับผิดชอบเพียงมูลค่าที่ตนยังค้างชำระเท่านั้น)
  2. เจ้าหนี้ไม่สามารถไปยึดทรัพย์สินส่วนตัวของผู้ถือหุ้นได้
  3. ผู้ถือหุ้นสามารถขายหรือโอนหุ้นให้กับผู้อื่นได้
  4. กรณีผู้ถือหุ้นตาย ล้มละลาย หรือศาลสั่งให้ออกจากผู้ถือหุ้น บริษัทก็ยังดำเนินกิจการต่อไปได้
  5. มีความน่าเชื่อถือกว่ากิจการเจ้าของคนเดียว หรือห้างหุ้นส่วน
 ข้อเสีย
  1. ขั้นตอนการจัดตั้งยุ่งยาก
  2. ค่าใช้จ่ายในการบริหารสูง
  3. การเลิกกิจการทำได้ยาก ต้องมีการชำระบัญชีและจัดการให้ถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับทางกฎหมาย
  4. ข้อมูลสามารถรับรู้ได้โดยง่าย เนื่องจากต้องเปิดเผยข้อมูลให้ผู้ถือหุ้นและบุคคลภายนอกทราบจึงไม่อาจรักษาความลับได้
  5. ในการดำเนินการของบริษัทจำกัด มีทั้งผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทและพนักงาน ดังนั้นในการปฏิบัติงานอาจจะมีบางส่วนที่ขาดความตั้งใจในการทำงานเพราะไม่ได้เป็นเจ้าของกิจการเอง


3. เปรียบเทียบรูปแบบการบริหารจัดการทุกชนิดกับแต่ละอัน


เปรียบเทียบ
ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ดังนี้
1. แนวคิดก่อนยุคการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ ( Pre– Scientific Management ) ในยุคนี้เป็นยุคก่อนปี ค.ศ. 1880 ซึ่งการบริหารในยุคนี้อาศัยอำนาจหรือการบังคับให้คนงานทางานซึ่งวิธีการบังคับอาจใช้การลงโทษ การใช้แส้ การทางานในยุคนี้เปรียบเสมือนทาส คนในยุคนี้จึงต้องทางานเพราะกลัวการลงโทษ
2. แนวคิดการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ ( Scientific Management ) แนวคิดนี้เริ่มในช่วงของการปฏิวัติอุตสาหกรรมคือประมาณปี ค.ศ 188 เป็นต้นมาจนถึงปี 1930 ในยุคนี้ได้ใช้หลักวิธีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์มาช่วยในการบริหารการจัดการ ทาให้ระบบบริหารการจัดการแบบโบราณได้เปลี่ยนแปลงไปมาก ได้รับการยอกย่องว่าเป็นบิดาแห่งการจัดการแบบวิทยาศาสตร์หรือบิดาของวิธีการจัดการที่มีหลักเกณฑ์ โดยได้ศึกษาหาวิธีเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรมโดย Taylor ได้เข้าทางานครั้งแรก
ในโรงงานที่เพนซิลวาเนีย เมื่อปี ค.ศ.1878 ซึ่งเป็นช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำมากการบริหารงานขาดประสิทธิภาพ ไม่มีมาตรฐานในการประเมินผลงานของคนงาน การแบ่งงานไม่เหมาะสม การตัดสินใจขาดหลักการและเหตุผลสาหรับการศึกษาที่ใช้หลักวิทยาศาสตร์ ( The Scientific Approach ) มีส่วนประกอบสำคัญ 3ลักษณะคือ
1. มีแนวคิดที่ชัดเจน ( Clear Concept ) แนวความคิดต้องชัดเจนแน่นอนในสิ่งที่จะวิเคราะห์
2. วิธีทางวิทยาศาสตร์ ( Scientific ) สาขาพิจารณาข้อเท็จจริงได้ทางวิทยาศาสตร์หรือสังเกตได้ แล้วนำข้อมูลดังกล่าวมาทาการทดสอบความถูกต้อง ถ้าเป็นจริงก็คือหลักเกณฑ์(Principles)
3.ทฤษฎี ( Theory ) หมายถึง การจัดระบบความคิดและหลักเกณฑ์มารวมกันเพื่อได้ความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
3. แนวคิดการจัดการยุคมนุษย์สัมพันธ์ ( Human Relation )แนวคิดมนุษย์สัมพันธ์เป็นแนวคิดที่ขัดแย้งกับแนวคิดการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ ที่เน้นประสิทธิภาพของการทางาน และมองข้ามความสำคัญของคน เห็นว่ามนุษย์ไม่มีชีวิตจิตใจ ไม่มีความต้องการมากนัก มีพฤติกรรมที่ง่ายต่อความเข้าใจ โดยอาศัยโครงสร้างขององค์การมาเป็นตัวกำหนด และควบคุม ให้มนุษย์ทางานให้บรรลุผลสำเร็จ ซึ่งยุคมนุษย์สัมพันธ์นั้นเป็นแนวคิดที่อยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ 1930 – 1950 เนื่องจากเล็งเห็นว่า การจัดการใด ๆ จะบรรลุผลสำเร็จได้นั้นจะต้องอาศัยคนเป็นหลัก ดังนั้นแนวคิดมนุษย์สัมพันธ์ จึงได้ให้ความสำคัญในเรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จึงทาให้เรื่องราวของมนุษย์สัมพันธ์ ( Human Relation ) กลับมามีบทบาทสำคัญมากขึ้นนักวิชาการสำคัญที่ให้การสนับสนุนและศึกษาแนวคิดซึ่งจุดประสงค์ก็คือต้องการเข้าใจพฤติกรรมของคนในหน้าที่งานที่จัดไว้ให้ ปรากฏว่าคนทางานมิใช่ทางานเพื่อหวังผลตอบแทนด้วยตัวเงินเพียงอย่างเดียว แต่คนทางานต้องการด้านสังคมภายในกลุ่มที่เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นทางการ ที่เป็นเรื่องของจิตใจ ตลอดจนความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างคนงานด้วยกัน
          การศึกษาวิจัยดังกล่าวได้ศึกษาทดลองออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. การศึกษาทดลองภายในห้อง (Room Studies) ได้ทาการทดลองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของแสงสว่างภายในห้องทางาน เพื่อสังเกตประสิทธิของการทางานว่าเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
2. การศึกษาโดยการสัมภาษณ์ ( Interviewing Studies ) การทดลองนี้ก็เพื่อค้นหาความเปลี่ยนแปลงในการทางานเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมของการทางานและการบังคับบัญชา
3. การศึกษาโดยการสังเกต ( Observation Studies ) เป็นการสังเกตการทางานของคนและปัจจัย
อื่นๆจากการทดลองนี้ได้ประโยชน์หลายประการ
4. แนวคิดการจัดการยุคการบริหารสมัยใหม่ ( Modern Management )ซึ่งในขณะนี้เศรษฐกิจ และธุรกิจขยายตัวอย่างรวดเร็วความสลับซับซ้อนในการบริหารการจัดการก็มากขึ้น เพราะฉะนั้นการจัดการสมัยใหม่ จึงต้องใช้หลักทางคณิตศาสตร์มาช่วยในการตัดสินใจ ตลอดจนการจัดการเชิงระบบมาช่วย แต่อย่างไรก็ตาม ตัวอย่างเช่น คนเป็นระบบ เพราะในร่างกายของคนเรานั้นประกอบด้วย อวัยวะ ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันอย่างอัตโนมัติ ระบบจึงถือเป็น Grand Theory เป็นทฤษฎีขนาดใหญ่ เพราะมีระบบย่อยหรือสิ่งต่าง ๆ มากมาย เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ ขององค์การไม่ว่าภายในหรือภายนอก ล้วนแต่มีความสัมพันธ์ เกี่ยวเนื่องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ดังนั้นการบริหารการจัดการจึงต้องปรับตัวให้มีความสมดุลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์กับปัจจัยต่าง ๆ ที่กล่าว จึงจะทาให้องค์การเติบโต อยู่รอด และสัมฤทธิผลตามเป้าหมาย










วันเสาร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2560

บริษัทแนวนอน

1. บริษัท โออิชิ กรุ๊ป จำกัด(มหาชน)




2.  บริษัท อีซี่ บาย จำกัด (มหาชน)
EASY BUY PUBLIC COMPANY LIMITED






3. บริษัท เมเจอร์คลับ จำกัด

 

บริษัทโคร้งสร้างแนวดิ่ง

 1. 
โครงสร้างองค์กร
2.   GMM Logo

3.     ไทยฟู๊ดส์กรุ๊ป


วันพฤหัสบดีที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2560

นวัตกรรม



Energy Call
หมวดพลังงาน
หมวดอุตสาหกรรม
หมวดวิศวกรรม
หมวดยานยนต์
หมวดสิ่งแวดล้อม
หมวดทั่วไป
ข่าวจากหัวข้อ : นวัตกรรม
 

Transit Elevated Bus รถบัสแห่งอนาคตสู่การขนส่งรูปแบบใหม่ลดปัญหาการจราจรติดขัด

ประเทศจีนได้วางแผนการผลิตรถบัสมากกว่าที่จะผลิตรถยนต์   ซึ่ง ณ ตอนนี้จีนได้ทำการผลิตรถบัสแห่งอนาคต TEB  รูปแบบใหม่และมีการนำรถต้นแบบมาทดสอบใช้งานจริงแล้ว โดยใช้ระบบการขับเคลื่อนพิเศษตรงที่รถบัส TEB  จะขับคร่อมได้ทั้งสองเลนของถนน ซึ่งรถยนต์สามารถขับไป-มา บนท้องถนนได้ในเวลาเดียวกันช่วย แก้ปัญหาในเรื่องการจราจรแออัด    อีกทั้งค่าใช้จ่ายยังถูกกว่ารถไฟฟ้าใต้ดิน อีกด้วย

ครั้งแรกของโลกกับรถบัสแห่งอนาคต มีชื่อว่า  (Transit Elevated Bus หรือ TEB)  จากประเทศจีน โดยได้เปิดแผนความคิดการผลิตรถบัสแห่งอนาคตเมื่อไม่กี่เดือนที่ผ่านมา ซึ่งเป็นเรื่องน่าตื่นเต้นที่สุดกับรถบัสแห่งอนาคต TEB  ตัวต้นแบบ สามารถรองรับผู้โดยสารได้มากกว่า 1,000 คน มีทั้งหมด 2 ชั้น ภายใต้รถมีความสูงราวๆ 5.6 ฟุต สบายพอที่จะให้รถยนต์วิ่งตัดผ่านใต้ท้องรถได้   ซึ่งการทดสอบในเบื้องต้นนี้ถือว่าเป็นไปได้ด้วยดี  ตลอดเส้นทางจะมีสถานีชาร์จตั้งไว้เพื่อให้รถสามารถชาร์จแบตเพิ่มได้เมื่อพลังงานเริ่มต่ำลง


รถบัสแห่งอนาคต TEB  สามารถเดินทางด้วยความเร็วสูงสุดได้ 36ไมล์ ต่อชั่วโมง  ซึ่งถือว่าเร็วมากถ้าเทียบกับการจราจรในประเทศจีน และเป็นครั้งแรกของโลกกับ นวัตกรรมรถบัสแห่งอนาคตที่บรรจุคนได้อย่างมหาศาลอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน