วันเสาร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2560

(Value Chain) บริษัท ไทย เบฟเวอเรจ

การวิเคราะห์ปัจจัยภายในห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) บริษัท ไทย เบฟเวอเรจ

 


การวิเคราะห์ปัจจัยภายในห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) สินค้าพรีเมี่ยม
สำหรับการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าเพื่อแสดงให้เห็นว่า บริษัท  จากัด มีกิจกรรมหลักและกิจกรรมสนับสนุน อย่างไรบ้าง และความสามารถในการแข่งขันของกิจการเกิดขึ้นจากกิจกรรมหลัก และกิจกรรมสนับสนุน ในส่วนนี้จะนำเสนอถึงห่วงโซ่คุณค่าของกระบวนการรับรู้ความต้องการของลูกค้าออกแบบสินค้าพรีเมี่ยม
กิจกรรมหลัก (Primary Activities) คือ กิจกรรมพื้นฐานในการผลิตสินค้าหรือบริการ ประกอบไปด้วย
- ลอจิสติกส์ขาเข้า (Inbound Logistics)
ฝ่ายขายจะเข้าไปรับทราบข้อมูลความต้องการของทางลูกค้าว่ามีความต้องการใช้ของ
พรีเมี่ยมในโอกาสใด งบประมาณเท่าไหร่ และโจทย์ของลูกค้าเป็นอย่างไรซึ่งลูกค้าจะมีการ brief
ข้อมูลสิ่งที่ต้องการมาทางฝ่ายขาย แต่ในบางโอกาสฝ่ายออกแบบก็จะออกไปรับ brief ด้วย
ส่วนของการผลิตจะสั่งในส่วนของวัตถุดิบ ของพรีเมี่ยมปีใหม่ ที่มีคุณภาพ เป็นเม็ดพลาสติกตามชนิดของ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้ออกแบบไป ทั้ง PP ( Polypopylene) TPE (Termoplastic Elastomer) ฯลฯ
รวมทั้งสินค้าสำเร็จรูปที่ทาการสั่งจาก Suppliers ข้างนอก
- การผลิตหรือการปฏิบัติการ (Operation)
ในส่วนของการดาเนินงาน เมื่อไปรับข้อมูลของลูกค้ามาแล้วทางฝ่ายออกแบ บจะทาการ
ระดมความคิดเกี่ยวกับสินค้าที่จะทาการออกแบบให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า โดย
คำนึงถึงปัจจัยด้านต่างๆ เช่น concept ของสินค้า เทรน งบประมาณ และกรรมวิธีการผลิต
โดยใช้การสร้างภาพสามมิติขึ้นมาในคอมพิวเตอร์ และทำพรีเซนเตชั่นนำเสนอลูกค้า
ส่วนของการผลิตหลังจากฝ่ายออกแบบได้ทาการออกแบบเป็นที่ตกลงใจจากลูกค้าแล้ว
จะนามาทาการผลิต โดยถ้าเป็นสิ่งที่ไม่สามารถทาเองได้ เช่น งานผ้า หรือยางหยอด (soft PVC)
ก็จะทาการสั่งผลิตจากภายนอก ส่วนถ้าเป็นงานที่สามารถผลิตเองได้ก็จะข้าสู่กระบวนการตั้งแต่
เขียนแบบการผลิต ออกแบบแม่พิมพ์ฉีด และนามาเข้าสู่กระบวนการการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์
และนามาบรรจุในบรรจุภัณฑ์ทั้งที่เป็นถุงพลาสติกสาหรับลูกค้าที่ไม่ต้องการบรรจุภัณฑ์ และ
ออกแบบกราฟฟิคในบรรจุภัณฑ์สั่งจากโรงพิมพ์ข้างนอกสาหรับลูกค้าที่ต้องการให้ออกแบบ
บรรจุภัณฑ์ ของพรีเมี่ยมแก้ว ด้วย
การขนส่งสินค้า (Outbound Logistics)
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรวบรวม จัดเก็บ และส่งมอบสินค้าแก่ลูกค้า เมื่อฝ่ายออกแบบทา
การออกแบบสินค้าเสร็จ ฝ่ายขายจะนาสิ่งที่ออกแบบไปนาเสนอให้ทางลูกค้า ตามไฟล์งานที่ฝ่าย
ออกแบบทาไปให้ โดยนาเสนอถึงแนวความคิด แรงบันดาลใจ และการออกแบบตาม Identity
ของทางลูกค้า
ส่วนฝ่ายผลิตเมื่อผลิตออกมาสมบูรณ์แล้วก็จะมีฝ่ายจัดส่งนำส่งให้ถึงลูกค้า ส่วนที่เป็น
สินค้าของบริษัทที่จะเข้าไปนาจาหน่ายตามห้างสรรพสินค้าชั้นนาโดยมีฝ่ายจัดส่ง และพนักงาน
PC คอยจัดเรียงสินค้าเข้าจุดขายในห้างสรรพสินค้าของพรีเมี่ยม













Peat  บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด 

วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายใน
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาส
-ในด้านโอกาสนั้นการที่ บริษัทไทยเบฟเวอเรจ นั้นจะมีโอกาสจากนโยบายของรัฐบาลค่อนข้างยากเนื่องจากนโยบายส่วนใหญ่จะรณรงค์ ให้ลดการดื่มเครื่องดื่มมึนเมาซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์หลักของทางบริษัทดังนั้นนโยบายของรัฐบาลจึงไม่ค่อยมีผลต่อโอกาสการดำเนินธุรกิจจะมีผลก็แค่ส่วนของผลิตภัณฑ์ที่ไม่
เกี่ยวข้องกับสิ่งมึนเมาซึ้งเป็นส่วนน้อยของบริษัท

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร “STEP Analysis”
กลยุทธ์ระดับองค์กร
ไทยเบฟส่ง '100 พลัส' รุกชิงตลาดน้ำอัดลม
ปี 2556 นับเป็นปีที่บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ("ไทยเบฟ") ขยายตัวจากธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศไปสู่ระดับภูมิภาคจากการลงทุนในหุ้นเฟรเซอร์ แอนด์ นีฟ, ลิมิเต็ด ("F&N") ซึ่งถือเป็นการซื้อกิจการที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของธุรกิจสิงคโปร์การลงทุนดังกล่าวนี้นับเป็นก้าวสำคัญของบริษัทเพื่อมุ่งสู่การเป็นผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเครื่องดื่มครบวงจรระดับโลก เบียร์,สุรา,อาหาร
แบ่งธุรกิจออกเป็น 4 ประเภท
เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์
เบียร์ช้าง คลาสิค
เบียร์ช้างเอ็กซ์พอร์ต
เบียร์ช้าง ดราฟต์
เบียร์ช้าง ไลท์
เบียร์อาชา
เฟดเดอร์บรอย
สายผลิตภัณฑ์
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด
ก่อตั้งขึ้นในประเทศไทยเมื่อปีพุทธศักราช 2546
โดยมีจุดประสงค์เพื่อรวมกิจการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเบียร์และ
สุราชั้นนำของไทย 

ต่อมาในปี 2549
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด ได้จดทะเบียนในตลาด
หลักทรัพย์สิงคโปร์

จากนั้นขยายขอบเขตธุรกิจ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไปสู่ธุรกิจเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์และอาหาร
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านอุปสรรคในด้านอุปสรรคเห็นได้ชัดเรื่องนโยบายที่รณรงค์ไม่ให้ดื่มเครื่องดื่มมึนเมานั้นจะมีผลโดยตรงและผลกระทบอย่างแน่นอน
เทคโนโลยี (Technological Component = T
เป็นการวิเคราะห์สภาพการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีที่จะมีผลต่อการดำเนินงาน เช่น การผลิตคิดค้นเทคโนโลยีต่างๆ ความรู้และวิทยาการแขนงต่างๆ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร การแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างองค์กร ความก้าวหน้าในการวิจัยและพัฒนาในสาขาที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตและการให้บริการโดยใช้อุปกรณ์ อัตโนมัติต่าง ๆ


วิสัยทัศน์องค์กร คือ การเป็นกลุ่มบริษัทไทยผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเครื่องดื่มครบวงจร
ในระดับโลก โดยมุ่งเน้นที่ความเป็นเลิศเชิงพาณิชย์ ความต่อเนื่องในการพัฒนาคุณภาพสินค้าให้อยู่ในระดับพรีเมี่ยม และความเป็นมืออาชีพ
 
วิสัยทัศน์
กลุ่มธุรกิจ
มอบผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงสุดให้ลูกค้าทุกกลุ่ม (ลูกค้า)
ตอบสนองความต้องการของผู้แทนจำหน่ายโดยให้บริการอย่างมืออาชีพ (ผลิตภัณฑ์)
ให้ความสำคัญเรื่องผลตอบแทนจากการลงทุนให้แก่ผู้ถือหุ้น ด้วยการเติบโตของรายได้และผลกำไรที่มั่นคงและต่อเนื่อง (ตลาด)
เป็นแบบอย่างในด้านความเป็นมืออาชีพ ความโปร่งใส และการดำเนินธุรกิจด้วยหลักธรรมาภิบาล (แนวคิดต่อตนเอง)
มอบความไว้วางใจ อำนาจ และรางวัลแก่พนักงาน เพื่อสร้างความร่วมรับผิดชอบ (บุคลากร)
สร้างประโยชน์ให้แก่สังคม (ปรัชญา และ ภาพลักษณ์)
พันธกิจ
สิ่งที่ขาด
การอยู่รอด การเจริญเติบโต และการทำกำไร
เทคโนโลยี
ข้อเสนอแนะ
กำหนดนโยบายพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์ และตอบสนองความต้องการของตลาด เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
ด้านเทคโนโลยี เพิ่มการลงทุนด้านการผลิตสินค้า โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในอุตสาหกรรม
ด้านการร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม

โครงการ "ช้างช่วยช้าง"
"ปลูกจิตสำนึกอนุรักษ์ช้าง" 

ด้านสาธารณสุข

ร่วมสมทบทุน "มูลนิธิโรงพยาบาลศิริราช"

ด้านกีฬา

ไทยเบฟ ไทยทาเล้นท์ ด้าน "กีฬาฟุตบอล"
วัตนธรรมองค์การ
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ
ไทยเบฟ ไม่ได้มุ่งเน้นเพียงการพัฒนาองค์ความรู้ให้แก่
พนักงานเท่านั้น ยังส่งเสริมให้พนักงานมีจริยธรรม
ยึดมั่นในค่านิยม ที่เหมาะสม ด้วยคุณค่าองค์กร 
ThaiBev Core Values ทั้ง 7 ตัวอักษร 9 คำ 9 
ความหมาย ได้แก่

T Team Spirit 
H Heart
A Accountability 
I Initiative 
B be Best - be Bold - be Bright
E Efficient 
V Virtue
ข่าวหนังสือพิมพ์ ไทยโพสต์ วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558
อ้างอิง http://www.ryt9.com/s/tpd/2089552
พันธกิจของเราคือ การประสาน "สัมพันธภาพ" กับผู้มีส่วนได้เสียที่มีความสำคัญกับบริษัทในทุกๆ ด้าน โดยมอบคุณค่าที่สำคัญ 6 ประการ
RBV
1. ทรัพยากรทางกายภาพ: มุ่งเน้นที่ความเป็นเลิศเชิงพาณิชย์ ความต่อเนื่องในการพัฒนาคุณภาพสินค้า ให้อยู่ในระดับพรีเมี่ยม และความเป็นมืออาชีพ พันธกิจของเราคือ การประสาน "สัมพันธภาพ" กับผู้มีส่วนได้เสียที่มีความสำคัญกับบริษัทในทุกๆ ด้าน
2. ทรัพยากรมนุษย์: มอบความไว้วางใจ อำนาจ และรางวัลแก่พนักงาน เพื่อสร้างความร่วมรับผิดชอบ
3. ทรัพยากรขององค์กร: โครงสร้างองค์กร

Functional Analysis
การวิเคราะห์ตามหน้าที่
- การบริหารจัดการ : ผู้บริหารมีความเชี่ยวชาญและชำนาญสูง พัฒนาจนมั่นคงจึงไม่ค่อยประสบปัญหา 
- ระบบการผลิต : ค่อนข้างวางสายการผลิตไว้อย่างชัดเจน แบ่งเป็นกลุ่มของลูกค้าในระดับผลิตภัณฑ์ในการเลือกดื่ม เพื่อให้ได้เป็นแบรนระดับโลกที่ลูกค้านิยม
- การจัดการทรัพยากรมนุษย์ : มีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพื่อการทำงานที่มีคุณภาพ และมีการปรับวิธีตามยุคสมัยที่เปลี่ยนไป 
- การวิจัยและพัฒนา : พัฒนาและวิจัยผลิตภัณฑ์ใหม่ๆเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า
- ความสามารถทางการตลาด : มีการจัดทำสื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย เป็นผู้สนับสนุนในกีฬาต่างๆและยังสังเสริมการช่วยเหลือสังคม

Value Chain Analysis
- อุตสาหกรรมเบียร์เป็นธุรกิจหลักที่เสริมให้อาณาจักรของ บริษัท 
ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) แผ่ขยายกว้างไกลและเป็นปึกแผ่นมั่นคง ด้วยผลิตภัณฑ์สำคัญที่มียอดจำหน่ายสูงสุดอย่างต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน 
เบียร์ช้าง เบียร์เหรียญทองระดับโลก เบียร์ที่กำเนิดจากหัวใจ และความภาคภูมิในความเป็นไทย เผื่อนำเบียร์ไทยสู่เบียร์ระดับโลก
การเมือง (Political Component = P)
เป็นการวิเคราะห์นโยบายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ของภาครัฐ ที่น่าจะมีผลทั้งในเชิงบวกและเชิงลบต่อการดำเนินงานขององค์กร เช่น
- นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี และกฎระเบียบต่างๆ
- ความมั่นคงของรัฐบาล
- บทบาทของกลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มพลังทางการเมือง
- วามขัดแย้งและความรุนแรงทางการเมือง
- พฤติกรรมทางการเมือง

เศรษฐกิจ (Economic Component = E)
การวิเคราะห์เศรษฐกิจระดับมหภาค / ระดับจุลภาค 
ซึ่งหมายถึงระบบเศรษฐกิจทั้งในและระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับการดำเนินงานของ องค์กร อาทิ
- อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
- ผลผลิตมวลรวมในประเทศ
- การค้าระหว่างประเทศและดุลการชำระเงิน
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาส
- ในด้านโอกาสนั้นในด้านเศรษฐกิจไม่ว่าจะจุลภาคหรือมหาภาคนั้นในปัจจุบันมีการใช้
จ่ายค่อนข้างสูงรายได้มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจึงทำให้มีการใช้จ่ายเพิ่มเป็นโอกาสที่ทำให้
สามารถเพิ่มยอดขายได้
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านอุปสรรค
-ในด้านอุปสรรคนั้นยังมีปัจจัยที่ราคาของปัจจัยต่างๆที่ยังส่งผลให้คนเลือกซื้อของมาก
ขึ้นแม้ว่าจะมีปัจจัยการใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นแต่เนื่องด้วยราคาที่เพิ่มขึ้นตามจึงทำให้คนเลือกมา
ขึ้นจึงเป็นอุปสรรคในการเพิ่มยอดขาย
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาส
-ในด้านโอกาสนั้นเทคโนโลยีส่วนใหญ่จะมีผลดีต่อยอดขายต่อบริษัทในแง่ของการใช้
โฆษณาเป็นส่วนใหญ่
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านอุปสรรค
-ในด้านอุปสรรคนั้นในด้านเทคโนโลยีมีผลน้อยมาต่อบริษัท

สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural Component = S)
เป็นการวิเคราะห์สภาวะทางสังคมและวัฒนธรรม
ซึ่งหมายถึงโครงสร้างทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานขององค์กร อาทิ
- ระดับการศึกษาและอัตราการรู้หนังสือของประชากร
- จำนวนประชากร โครงสร้างของประชากร
- ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ค่านิยมและวัฒนธรรม
- แบบแผนการดำเนินชีวิตและพฤติกรรม การประกอบอาชีพ
- คุณภาพชีวิต
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาส
- ในด้านโอกาสนั้นในด้านนี้โอกาสที่เกิดขึ้นจะเกิดจากคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นก็วจะมีการ
บริโภคการใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจึงทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นของยอดขายต่างๆอีกทั้งการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบันซึ้งจะมีการฉลองสังสรรค์ที่มากขึ้นอีกด้วย
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านอุปสรรค
- ในด้านอุปสรรคนั้นเนื่องจากขนบธรรมเนียมประเพณีไทยเป็นเมืองพุทธจึงทำให้
สินค้าที่เป็นสินค้าหลักของเราเป็นสินค้าที่ต้องห้ามจึงทำให้เป็นอุปสรรคในการเพิ่ม
ยอดขาย
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร 5 forces model
1. อำนาจการสต่อรองของผู้บริโภค
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาส
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านอุปสรรค
2. อำนาจการต่อรองของซัพพลายเออร์
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาสและอุปสรรค
3. การคุกคามของผู้ประกอบรายใหม่
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาสและอุปสรรค
4. การคุกคามของสินค้าทดแทน
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาสและอุปสรรค
5. การแข่งขันภายในสายผลิตภัณฑ์
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านโอกาส
- การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านอุปสรรค
S 
มีเงินลงทุนสูง
ทีมบริหารมีความชำนาญ
แบรนด์ติดตลาด
ราคาผลิตภัณฑ์เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้า
มีเทคโนโลยีในการผลิตที่ทันสมัย

W 
ภาพลักษณ์ไม่ดี เพราะเป็นเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์ จึงมีการส่งเสริมโครงการช่วย
เหลือสังคมต่างๆเผื่อสร้างภาพลักษณ์ และซื่อโฆษณาเกี่ยวกับมิตรภาพในเพื่อน มีการลงทุนในการโฆษณาและกิจกรรมต่างๆสูง

O 
ตลาดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เติบโตเร็ว
ฐานลูกค้ากว้าง
การเปิดเสรีอาเซียน AEC
การเข้าสู่ตลาดจากผู้แข่งขันรายใหม่ยาก

T
นโยบายจากภาครัฐ มีการรณรงค์งดดื่ม
มีการแข่งขันที่รุนแรง
มีข้อจำกัดเรื่องของกฎหมาย
ผลกระทบจากเศรษฐกิจ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น